การเปิดเผยข้อมูลการอุดมศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาต่อสาธารณะ

มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

บัญชี 2 ข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ หน้าที่ และอำนาจของสถาบันอุดมศึกษา
การดำเนินงาน
7. การทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
(1) ตามแนวทางที่กำหนดให้สถาบันอุดมศึกษา ดำเนินการที่กำหนดโดยกฎกระทรวง ว่าด้วยมาตรฐานการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
(ปรับปรุงล่าสุดเมื่อ : 22/12/2023)

การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติงานด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

ที่

โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

ตัวชี้วัดความสำเร็จ

ดำเนินการเป็นปีที่

ผลการดำเนินงานปีที่ผ่านมา

งบประมาณ

ระยะเวลา

ผู้รับผิดชอบ/

ปัญหา/อุปสรรค

แนวทางปรับปรุง

กำกับติดตาม

1

โครงการศูนย์เรียนรู้เอกสาร   และอักษรโบราณล้านนา

1. เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมองค์ความรู้จากเอกสารโบราณล้านนา

2. เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ บริการ และเผยแพร่เกี่ยวกับตัวอักษรโบราณล้านนา

1. มีการดำเนินกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้หรือการอนุรักษ์อักษรธรรมล้านนาจำนวน 1 กิจกรรม

1. ระดับความรู้ความเข้าใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

9

ไม่มี

ไม่มี

-

ต.ค. 66 – ก.ย. 67

ผู้รับผิดชอบ

วีรศักดิ์  ของเดิม

 

ผู้กำกับติดตาม

อ.สุทธิมั่น ปิยะโกศล

2

โครงการประเพณีตาน    ก๋วยสลาก

1. เพื่อสืบสานและอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณีทำบุญตานก๋วยสลาก

2. เพื่อให้อาจารย์ บุคลากรและนักศึกษา มีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

1. ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

2. ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

 

1

ไม่มี

ไม่มี

-

 ก.ย. 67

ผู้รับผิดชอบ

วีรศักดิ์  ของเดิม

อาทิตย์ สุปินะ

 

ผู้กำกับติดตาม

อ.สุทธิมั่น ปิยะโกศล

3

โครงการรวบรวมและจัดทำเอกสารองค์ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรม

1. เพื่อศึกษา รวบรวมข้อมูลและจัดทำเอกสารวิชาการทางด้านศิลปะและวัฒนธรรม

2. เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ทางด้านศิลปะและวัฒนธรรม

1. จำนวนเอกสารวิชาการทางด้านศิลปะและวัฒนธรรมที่ตีพิมพ์เผยแพร่ จำนวน 1 เรื่อง

2. จำนวนหน่วยงานที่ได้รับการเผยแพร่ จำนวนไม่น้อยกว่า 80 แห่ง

10

ไม่มี

ไม่มี

30,000

ม.ค. 67 – มิ.ย. 67

ผู้รับผิดชอบ

วีรศักดิ์  ของเดิม

 

ผู้กำกับติดตาม

ผศ.เจษฎา ทองสุข

4

โครงการตั้งธรรมหลวง

(เทศน์มหาชาติ)

1. เพื่อสืบสานและอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมการทำบุญตั้งธรรมหลวง

2. เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมในกิจกรรม ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

1. ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

2. ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

3. มีการบูรณาการกับการเรียนการสอนร่วมกับคณะ/หลักสูตร

ทุกปี

 เจ้าภาพหลักมีการแจ้งกำหนดการและการประชาสัมพันธ์งานล่าช้า จึงทำให้การจัดเตรียมดำเนินโครงการมีความกระชั้นชิด

เจ้าภาพหลักควรแจ้งการกำหนดและรายละเอียดของกิจกรรม อย่างน้อย 1 เดือน ก่อนการดำเนินกิจกรรม

 

5,000

ต.ค. 66 – มี.ค. 67

ผู้รับผิดชอบ

วีรศักดิ์ ของเดิม

 

ผู้กำกับติดตาม

อ.สุทธิมั่น ปิยะโกศล

5

โครงการวันสำคัญของชาติ ศาสน์ กษัตริย์และมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

1. เพื่อดำเนินการจัดกิจกรรมวันสำคัญของชาติ ศาสน์ กษัตริย์และมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

2. เพื่อให้คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา มีส่วนร่วมในกิจกรรมวันสำคัญของชาติ ศาสน์ กษัตริย์และมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

1. มีการดำเนินการกิจกรรมวันสำคัญของชาติ ศาสน์ กษัตริย์และมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง จำนวน 6 กิจกรรม

 

3

ไม่มี

ไม่มี

220,000

ต.ค. 66  – ก.ย. 67

ผู้รับผิดชอบ

วีรศักดิ์ ของเดิม

อาทิตย์ สุปินะ

 

ผู้กำกับติดตาม

อ.อัคจร บุปผาจำเริญ

อ.เยาวลักษณ์

งามแสนโรจน์

อ.สุทธิมั่น ปิยะโกศล

6

โครงการป๋าเวณีปี๋ใหม่เมือง

1. เพื่อสืบสานและอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณีปี๋ใหม่เมือง

2. เพื่อให้คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา มีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

1. ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

2. ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

ทุกปี

ไม่มี

ไม่มี

20,000

เม.ย. 67

ผู้รับผิดชอบ

โสมลักษณ์ กูลพรม

 

ผู้กำกับติดตาม

อ.เยาวลักษณ์

งามแสนโรจน์

7

โครงการเผยแพร่หรือแลกเปลี่ยนศิลปะและวัฒนธรรมภายใน/ภายนอกประเทศ และประเพณีต่างๆ

1. เพื่ออนุรักษ์และสืบสานศิลปะและวัฒนธรรมพื้นบ้าน

2. เพื่อเผยแพร่หรือแลกเปลี่ยนศิลปะและวัฒนธรรมภายใน/ภายนอกประเทศ และประเพณีต่างๆ

 

1. มีการดำเนินกิจกรรมการเผยแพร่หรือแลกเปลี่ยนศิลปะและวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นและประเพณีต่างๆ ภายในประเทศ/ภายนอกประเทศ จำนวน 3 กิจกรรม

2. ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

ทุกปี

นักแสดงและนักดนตรีส่วนใหญ่มีจำกัดอยู่ในเฉพาะกลุ่มเล็กหรือบางสาขาจึงส่งผลให้นักแสดงและนักดนตรีมีจำนวนน้อย

จัดกิจกรรมหรือวิธีการอื่นๆที่สร้างความสนใจหรือดึงดูดนักศึกษาที่มีความสามารถหรือสนใจเข้ามามีส่วนร่วมให้เพิ่มมากขึ้น

45,00

ต.ค. 66  – ก.ย. 67

ผู้รับผิดชอบ

โสมลักษณ์ กูลพรม

 

ผู้กำกับติดตาม

อ.สุทธิมั่น ปิยะโกศล

8

โครงการกินอ้อผญา (อ้อปัญญา)

1. เพื่ออนุรักษ์สืบสานประเพณีวัฒนธรรมการกินอ้อผญา (อ้อปัญญา)

2. เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนให้นักศึกษามีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

1. ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

2. ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

 

ทุกปี

ไม่มี

 

ไม่มี

 

 

10,000

ก.ค. –  ก.ย. 67

ผู้รับผิดชอบ

อาทิตย์ สุปินะ

 

ผู้กำกับติดตาม

อ.เยาวลักษณ์

งามแสนโรจน์

9

โครงการประเพณีเข้าพรรษา

1. เพื่อให้คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา มีส่วนร่วมในกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมและประเพณีอันดีงามของชาวพุทธ

2. เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น

1. ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

2. ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

ทุกปี

ไม่มี

 

ไม่มี

 

 

10,000

ก.ค. - ก.ย. 67

ผู้รับผิดชอบ

โสมลักษณ์ กูลพรม

 

ผู้กำกับติดตาม

อ.อัคจร บุปผาจำเริญ

10

โครงการป๋าเวณีล่องสะเปา

1. เพื่อสืบสานและอนุรักษ์ขนบธรรมเนียม  ป๋าเวณีล่องสะเปา

2. เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมในกิจกรรม ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

1. ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

2. ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

3. จำนวนเครือข่ายที่มีส่วนร่วมในกิจกรรม  ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ไม่น้อยกว่า 7 เครือข่าย

ทุกปี

ไม่มี

 

ไม่มี

 

 

40,000

ต.ค. – ธ.ค. 66

ผู้รับผิดชอบ

อาทิตย์ สุปินะ

 

ผู้กำกับติดตาม

อ.สุทธิมั่น ปิยะโกศล

11

โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม

1. เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม

2. เพื่อให้นักศึกษามีความตระหนักถึงคุณค่าองค์ความรู้มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม

1. ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

2. ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

3. ระดับความรู้ความเข้าใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

4

ไม่มี

 

ไม่มี

 

 

10,000

ต.ค. 66 – มี.ค. 67

ผู้รับผิดชอบ

อาทิตย์ สุปินะ

 

ผู้กำกับติดตาม

อ.สุทธิมั่น ปิยะโกศล

12

โครงการสืบสานองค์ความรู้   ด้านนาฏศิลป์ล้านนา

1. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และฝึกทักษะด้านนากศิลป์ล้านนา

2. เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ด้านการแสดงนาฏศิลป์ล้านนา

1. ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

2. ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

3. ระดับความรู้ความเข้าใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

1

ไม่มี

เนื่องจากดำเนินการ

ในงบประมาณตามแผนเป็นปีแรก

ไม่มี

เนื่องจากดำเนินการ

ในงบประมาณตามแผนเป็นปีแรก

 

25,000

ม.ค. - ก.ย. 67

ผู้รับผิดชอบ

อ.สุทธิมั่น ปิยะโกศล

 

ผู้กำกับติดตาม

ผศ.เจษฎา ทองสุข

13

โครงการสื่อสารสนเทศสร้างสรรค์ด้านศิลปะและวัฒนธรรม

 

 

 

1. เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะการสร้างสื่อสารสนเทศด้านศิลปะและวัฒนธรรมท้องถิ่น

2. เพื่อเผยแพร่สื่อสารสนเทศที่พัฒนาขึ้น ในแพลตฟอร์มโซเชียลมีเดียต่างๆ

 

 

1. ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

2. จำนวนสื่อสารสนเทศที่สร้างขึ้นไม่น้อยกว่า 3 สื่อ

 

 

1

ไม่มี

เนื่องจากดำเนินการ

ในงบประมาณตามแผนเป็นปีแรก

ไม่มี

เนื่องจากดำเนินการ

ในงบประมาณตามแผนเป็นปีแรก

 

20,000

ต.ค. - มิ.ย. 67

ผู้รับผิดชอบ

อ.เยาวลักษณ์ งามแสนโรจน์

 

ผู้กำกับติดตาม

ผศ.เจษฎา ทองสุข

14

โครงการสัมมนาวิชาการ  อัตลักษณ์ลำปาง

“ลายลักษณ์ลำปาง”

1.เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม และมรดกภูมิปัญญาของจังหวัดลำปาง

1. เพื่อสร้างเครือข่ายทางวิชาการด้านศิลปวัฒนธรรมในจังหวัดลำปาง

1. ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

2. ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

 

2

ผู้เข้าร่วมโครงการบางท่าน ไม่ได้ลงทะเบียนผ่านระบบออนไลน์ หรือส่งแบบตอบรับเข้าร่วมโครงการ กลับมายังสำนักศิลปะและวัฒนธรรม แต่มาลงทะเบียนเข้าร่วมในวันจัดโครงการ ซึ่งมีผลกระทบต่อการจัดสถานที่ เอกสารประกอบการสัมมนา อาหารและเครื่องดื่ม

ควรมีการจัดประชุม หรือสัมมนาวิชาการ เพื่อเป็นการส่งเสริมเผยแพร่องค์ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมเป็นประจำทุกปี

30,000

ม.ค.– มี.ค. 67

ผู้รับผิดชอบ

วีรศักดิ์  ของเดิม

 

ผู้กำกับติดตาม

อ.เยาวลักษณ์ งามแสนโรจน์

 

15

โครงการนิทรรศการหมุนเวียนด้านศิลปะและวัฒนธรรม

1. เพื่อเผยแพร่ผลงานผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์จากต้นทุนทางวัฒนธรรมให้สาธารณชนได้ตระหนะกถึงความสำคัญของศิลปะและวัฒนธรรม

2. เพื่อส่งเสริมให้เกิดพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สร้างกิจกรรมและต่อยอดองค์ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรม

1. ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

2. ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

 

1

ไม่มี

เนื่องจากดำเนินการ

ในงบประมาณตามแผนเป็นปีแรก

ไม่มี

เนื่องจากดำเนินการ

ในงบประมาณตามแผนเป็นปีแรก

 

40,000

ต.ค. 66 - ก.ย. 67

ผู้รับผิดชอบ

ผศ.เจษฎา ทองสุข

 

ผู้กำกับติดตาม

-

16

โครงการอนุรักษ์ด้านศิลปะและวัฒนธรรม เรื่อง “ป้ายเอกลักษณ์ลำปาง”

1. เพื่ออนุรักษ์สืบสานภูมิปัญญาการประดิษฐ์อักษรป้าย

2. เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมในกิจกรรม ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

1. ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

2. ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

 

1

ไม่มี

เนื่องจากดำเนินการ

ในงบประมาณตามแผนเป็นปีแรก

ไม่มี

เนื่องจากดำเนินการ

ในงบประมาณตามแผนเป็นปีแรก

 

15,000

ต.ค. 66 - มี.ค. 67

ผู้รับผิดชอบ

อาทิตย์ สุปินะ

 

ผู้กำกับติดตาม

อ.อัคจร บุปผาจำเริญ

17

โครงการสร้างสรรค์เพลงพื้นบ้านล้านนา

1. เพื่อสร้างสรรค์เพลงพื้นบ้านล้านนา

2. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และฝึกทักษะการบรรเลงเพลงพื้นบ้านล้านนา 

3. เพื่อเผยแพร่ผลงานการสร้างสรรค์เพลงพื้นบ้านล้านนาสู่สาธารณชน

1. จำนวนการสร้างสรรค์เพลงพื้นบ้านล้านนา ไม่น้อยกว่า 1 เพลง

2. ผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

3. ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

4. ระดับความรู้ความเข้าใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

1

ไม่มี

เนื่องจากดำเนินการ

ในงบประมาณตามแผนเป็นปีแรก

ไม่มี

เนื่องจากดำเนินการ

ในงบประมาณตามแผนเป็นปีแรก

 

10,000

ต.ค. 66 - มี.ค. 67

ผู้รับผิดชอบ

โสมลักษณ์ กูลพรม

 

ผู้กำกับติดตาม

อ.อัคจร บุปผาจำเริญ

 

สรุปจำนวนโครงการ/กิจกรรม และตัวชี้วัดความสำเร็จของกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

                              จำนวนโครงการ/กิจกรรมทั้งหมด            17                โครงการ/กิจกรรม

                              จำนวนตัวชี้วัดความสำเร็จของกิจกรรม     39                ตัวชี้วัด

@LPRU การเปิดเผยข้อมูลการอุดมศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาต่อสาธารณะ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง